ประกันภัยรถยนต์
ประกันภัยรถยนต์ คือ การประกันความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการใช้รถยนต์ ในที่นี้รวมถึงรถโดยสารส่วนบุคคล รถจักรยานยนต์ รถบรรทุก การประกันรถยนต์ เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 1ในหลายเมืองใหญ่ ในช่วงนั้นการขับรถยนต์ค่อนข้างมีอันตราย ในตอนนั้นยังไม่มีการบังคับประกันรถยนต์ นั่นหมายถึงผู้ประสบภัยรถยนต์มักไม่ค่อยได้รับการชดเชยจากอุบัติเหตุ
และผู้ขับมักได้รับพิจารณาว่าต้องจ่ายค่าเสียหายต่อรถยนต์รับทรัพย์สิน การบังคับประกันภัยรถยนต์ มีการใช้ครั้งแรกในสหราชอาณาจักร จากพระราชบัญญัติการจราจรทางบก ค.ศ. 1930
ประกันภัยรถยนต์, ความหมายการประกันภัยรถยนต์ การประกันภัย คือ การบริหารความเสี่ยงภัยวิธีหนึ่ง ซึ่งจะโอนความเสี่ยงภัยของผู้เอาประกันภัยไปสู่บริษัทประกันภัย เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามที่ได้รับความคุ้มครองในกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องเสียเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัทประกันภัยตามที่ได้ตกลงกันไว้
การประกัน (Insurance) คือ การบริหารจัดการความเสี่ยงรูปแบบหนึ่ง โดยมีองค์ประกอบสามส่วน คือ
-ผู้รับประกัน (Insurer)
-ผู้เอาประกัน (Insured) หรือผู้ถือกรมธรรม์ (Policy Holder)
-ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
คือประกันรถยนต์ภาคบังคับ ที่ยานพาหนะทุกคันต้องมี โดยจะคุ้มครองแค่ “บุุคคล” เท่านั้น แต่ไม่คุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ “รถ”
– ความคุ้มครองความเสียหายกับรถจากการชน การคุ้มครองในส่วนนี้จะคุ้มครองความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถ ไม่ว่าคุณจะเป็นคนผิดหรือไม่ก็ตาม และถ้าค่าซ่อมแซมสูงกว่าราคารถยนต์ บริษัทประกันจะดำเนินการเปลี่ยนรถยนต์ให้ใหม่ตามราคาตลาดในขณะนั้น
– ความคุ้มครองรวม นอกเหนือไปจากการชนนั้น การคุ้มครองในส่วนนี้ คือในกรณีรถหาย ไฟไหม้ น้ำท่วม ของตกใส่รถ สัตว์ทำร้าย ซึ่งการคุ้มครองประเภทนี้ถือว่ามีราคาแพงที่สุด
– ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลในส่วนนี้ บริษัทประกันจะจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้คุณ ผู้โดยสาร หากมีการชนเกิดขึ้น ไม่ว่าใครจะเป็นผู้กระทำผิดก็ตาม
– ความคุ้มครองส่วนบุคคลในกรณีบาดเจ็บ ส่วนนี้จะต่อไปจากความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาล โดยจะคุ้มครองในกรณีที่คุณไม่สามารถไปทำงานได้ โดยจะจ่ายรายได้ที่หายไป รายจ่ายในการเลี้ยงดูบุตร หรือค่าใช้จ่ายในงานศพเป็นต้น
– ความคุ้มครองอื่นๆ นอกจากความคุ้มครองขั้นพื้นฐานที่ว่าแล้ว คุณสามารถเลือกความคุ้มครองเพิ่มเติมได้อีก อาทิ การเปลี่ยนรถใหม่ โบนัสหากไม่มีการแจ้งเคลม เป็นต้น
– การคุ้มกันผู้ต้องหา จะมีประโยชน์ในกรณีที่คุณเป็นคนผิดและถูกจับจากเจ้าหน้าที่ตำรวจ
รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.ทําประกันรถยนต์.com



สิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อต่อประกันรถยนต์
1. เบี้ยประกัน
2. การบริการ
3. การต่อประกันรถยนต์ที่เดิม
4. การต่อประกันรถยนต์ที่ใหม่
5. ขั้นตอนการต่อประกันรถยนต์
ประกันรถยนต์
กรุงเทพประกันชีวิต
วิริยะประกันภัย
ประกันรถยนต์ ชั้น 1
สินมั่นคง
ประกันชั้น 1
สินมั่นคงประกันภัย
ต่อประกันรถยนต์
ประกันชั้น 2
ประกันรถยนต์ที่ไหนดี
ต่อประกันภัยรถยนต์วิริยะประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์กรุงเทพประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์ไทยวิวัฒน์
ต่อประกันภัยรถยนต์สินมั่นคง
ต่อประกันภัยรถยนต์กรุงไทยพานิชประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์ไทยศรี
ต่อประกันภัยรถยนต์อลิอันซ์
ต่อประกันภัยรถยนต์คุ้มภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์ไทยเศรษฐฯ
ต่อประกันภัยรถยนต์อาคเนย์ประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์เคเอสเค ประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์นวกิจประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์อินทรประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์เจ้าพระยาประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์บริษัทกลางฯ
ต่อประกันภัยรถยนต์เอเชียประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์ชับบ์สามัคคีประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์แปซิฟิค ครอส
ต่อประกันภัยรถยนต์เอ็มเอสไอจี
ต่อประกันภัยรถยนต์โตเกียวมารีน
ต่อประกันภัยรถยนต์ฟีนิกซ์
ต่อประกันภัยรถยนต์เอราวัณ
ต่อประกันภัยรถยนต์ทิพยประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์เมืองไทยประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์แอกซ่าประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์เทเวศประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์แอลเอ็มจี ประกันภัย
ต่อประกันภัยรถยนต์ไทยไพบูลย์
ต่อประกันภัยรถยนต์สินทรัพย์ประกันภัย
ขั้นตอนการต่อประกันรถยนต์
1. ก่อนหมดอายุประกันประมาณ 1-2 เดือน หรือเมื่อได้รับหนังสือแจ้งยอดให้ไปชำระเบี้ยประกัน ให้ติดต่อสอบถามบริษัทประกันว่าเบี้ยประกันราคาเท่าไร ให้ความคุ้มครองอะไร และเท่าไรบ้าง
2. นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณตามตัวอย่างที่ยกมาข้างบนว่าส่วนลดตรงตามเปอร์เซ็นต์ที่แจ้งหรือเปล่ามีส่วนต่างอยู่เท่าไหร่ ถ้าใกล้เคียงกันหรือห่างกันไม่เกิน 2-300บาทก็ถือว่าพอยอมรับได้
3. โทรฯสอบถามบริษัทประกันอื่นว่ารถเรายี่ห้อนี้/ปีนี้ ถ้าต้องการการคุ้มครองแบบเดียวกัน (กับที่บริษัทเดิมเสนอความคุ้มครองให้) ต้องจ่ายเบี้ยประกันเท่าไหร่
4. ถ้าพบว่าความคุ้มครองเท่ากันแต่ราคาถูกกว่าหรือให้ความคุ้มครองมากกว่าในราคาเท่ากัน แนะนำให้เปลี่ยนบริษัทประกันแสดงว่าบริษัทที่ทำอยู่เริ่มมีอะไรที่หมกเม็ดแล้วและในปีต่อๆ ไปเราก็จะเจอเช่นเดิมอีก
5. ถ้าเกิดมีการเคลมเกิดขึ้นอาจจะต้องจ่ายเบี้ยเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้นเช่น ถ้าเรียกร้องค่าเสียหายเกิน 200% ของเบี้ยในปีนั้น ในปีต่อไปต้องจ่ายเบี้ยเพิ่มขึ้น จากเบี้ยที่กำหนดโดยไม่ทราบที่มา) เป็นต้น อันนี้แนะนำให้เปลี่ยนบริษัทประกันทันทีไม่ต้องลังเล ปล่อยให้บริษัทประกันเดิมภาคภูมิใจกับตัวเลขที่หวังว่าจะเก็บเพิ่มจากเราไปเรื่อยๆ แต่ไม่ต้องต่อเปลี่ยนทันทีเพราะราคาเบี้ยประกันจะถูกลงทันที หาที่ถูกกว่าที่จะต่อกับบริษัทเดิมได้ไม่ยาก